สามบริษัทจีนยักษ์ใหญ่อย่าง Xiaomi, OPPO และ Unisoc (อดีต Spreadtrum) พัฒนาโมเดม 5G ย่านความถี่ Sub-6GHz เพื่อลดการพึ่งพิงเทคโนโลยีจาก Qualcomm และ MediaTek
Samsung มีแผนจะลงทุนตั้งโรงงานผลิตชิปในสหรัฐโดยมีงบสูงถึง $10,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่องานนี้โดยเฉพาะ
ปีนี้เราได้เห็น Apple A14 ชิปประมวลผลตัวแรกของ Apple ที่ใช้กระบวนการผลิตขนาด 5 นาโนเมตรของ TSMC แต่ทั้งสองบริษัทก็มองล่วงหน้าไปยังอนาคตกันเรียบร้อยแล้วว่าอีกสองปีข้างหน้าจะไปสู่ 3 นาโนเมตร
แหล่งข่าวเผยว่า Apple เตรียมจะลดกระบวนการผลิตชิป Apple A16 ให้ลงไปอยู่ที่ 4 นาโนเมตร โดยชิปนี้จะอยู่ใน iPhone ที่วางจำหน่ายในปี 2022
แม้ว่าระยะหลังเราจะเห็นว่า TSMC มีกำลังการผลิตที่สูงขึ้นมาก และออกมาดีกว่า Samsung แต่รายงานล่าสุดเผยว่า Qualcom เลือกใช้โรงงาน Samsung ผลิตชิป Snapdragon 875 ทั้งหมดในปีหน้า
TSMC เผยว่านอกจากจะเข้าสู่กระบวนการผลิต 3 นาโนเมตรภายในครึ่งหลังของปี 2022 แล้ว ยังมีแผนจะพัฒนากระบวนการผลิต 2 นาโนเมตรอีกด้วย
TSMC จัดงานแสดงเทคโนโลยีและเปิดเผยโร้ดแมปแผนธุรกิจสำหรับสองปีข้างหน้า โดยระบุว่าตอนนี้พร้อมสำหรับการผลิต 5 นาโนเมตรแล้ว ส่วน 3 นาโนเมตรจะเริ่มได้ในปี 2022
TSMC เตรียมเดินหน้าผลิตชิปด้วยกระบวนการผลิตขนาด 5 นาโนเมตร โดยจะเริ่มต้นผลิตตั้งแต่เดือนเมษายนเป็นต้นไป ตามโร้ดแมปที่วางเอาไว้ว่าจะเริ่มก่อนไตรมาสสามปีนี้
สงครามในวงการผู้ผลิตชิปเริ่มจะแย่ลงไปทุกวันโดยล่าสุด GlobalFoundries ฟ้องร้อง TSMC ว่าละเมิดสิทธิบัตรราวๆ 16 ฉบับในการผลิตชิปกึ่งตัวนำแบบ FinFET
Qualcomm Snapdragon 865 ที่จะเริ่มผลิตปลายปีนี้ และส่งผู้ผลิตมือถือรายต่างๆ ช่วงต้นปีหน้าเป็นผลงานการผลิตของ Samsung โดยใช้กระบวนการผลิตขนาด 7 นาโนเมตร EUV
TSMC ยืนยันว่าแม้สหรัฐจะแบนการค้ากับ Huawei แต่โรงงานก็จะเดินหน้าทำงานร่วมกับ Huawei ต่อไป โดยงานถัดไปที่จะร่วมงานกันก็คือการผลิต Kirin 985
TSMC ประกาศเสร็จสิ้นการทดสอบผลิต Risk Production สำหรับกระบวนการผลิต 5 นาโนเมตรแล้ว พร้อมผลิตจริงและรับคำสั่งผลิตจากลูกค้าในช่วงครึ่งแรกของปีหน้า
TSMC เสร็จสิ้นกระบวนการพัฒนาการผลิตที่ขนาด 5 นาโนเมตรแล้ว โดยระหว่างนี้จะเป็นการทดสอบกระบวนการผลิต และปรับปรุงการผลิตให้เสียน้อยลงจนพร้อมใช้งานจริงปีหน้า
TSMC เผยเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมาว่ามีปัญหาการผลิตเวเฟอร์สำหรับกระบวนการผลิต 12 และ 16 นาโนเมตรที่โรงงาน Fab 14 ทำให้สูญเสียเวเฟอร์ไปจำนวนหลายหมื่นชิ้น
แหล่งข่าวใกล้ชิด TSMC เผยว่าปีนี้ Apple ยังคงว่าจ้างให้ TSMC เป็นผู้ผลิตชิป Apple A13 เพียงรายเดียวเหมือนสามปีที่ผ่านมา หลังจาก Apple เลิกใช้บริการ Samsung
TSMC ประสบปัญหาจากสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการผลิต ทำให้สามารถผลิตเวเฟอร์เพื่อทำชิปได้น้อยลงกว่าที่ควร ส่งผลให้ชิป Kirin จาก HiSilicon ผลิตได้น้อยกว่าที่ควรจะเป็น
ย้อนกลับไปเมื่อปี 2014 บริษัท TSMC ได้ลงทุนกว่า $9,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อจ้างพนักงานกว่า 6,000 คน และใช้เวลากว่า 11 เดือนเพื่อผลิตชิปให้ได้ตามปคำสั่งซื้อที่ Apple ว่าจ้างให้ผลิต
TSMC โรงงานผลิตชิปรายใหญ่อันดับต้นๆ ของโลกติดไวรัสในระบบคอมพิวเตอร์โรงงาน ส่งผลกระทบให้ต้องปิดโรงงานชั่วคราวหลายแห่งช่วงวันหยุดเสาร์ อาทิตย์ที่ผ่านมา งานนี้มีผู้ได้รับผลกระทบหลายราย
CEO ของบริษัท TSMC เพิ่งจะยืนยันกับนักข่าวว่าโรงงานได้เริ่มกระบวนการผลิตขนาด 7 นาโนเมตรแล้ว โดยตอนนี้มีกำลังผลิตเวเฟอร์ 12 นิ้วจำนวน 12 ล้านชิ้นต่อปี
แหล่งข่าวในวงการชิปเผยว่า Qualcomm (ควอลคอมม์)เตรียมกลับไปใช้บริการ TSMC อีกครั้งปีหน้า โดยจะรับหน้าที่ผลิต Snapdragon 800 series ตัวถัดไป (น่าจะเป็น Snapdragon 855) ด้วยกระบวนการผลิตขนาด 7 นาโนเมตร
Apple เพิ่งจะเริ่มใช้หน้าจอ OLED กับ iPhone ก็จริง แต่แนวทางในอนาคตค่อนข้างชัดเจนแล้วว่าจะมุ่งเน้นไปที่เทคโนโลยีที่ใช้ชื่อว่า MicroLED
Apple เริ่มพัฒนา CPU ตัวใหม่ Apple A11X สานต่อจาก Apple A11 ใน iPhone 8 และ iPhone X เพื่อใช้ใน iPad Pro 2018 ที่กำลังจะเปิดตัวในปีหน้านี้แล้ว โดย TSMC